วันอังคารที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2555

ใบงานที่ ๑ วิชา อารยธรรมเปรียบเทียบ


ใบงานที่  ๑    วิชา  อารยธรรมเปรียบเทียบ (๙๐๑ ๑๐๔)

ชื่อ-สกุล...............................................................................................เลขที่.......................................

คำชี้แจง: จงตอบคำถามที่กำหนดให้ ให้ได้ใจความสมบูรณ์ สมภูมิปัญญา
๑.  อารยธรรม คืออะไร มีประโยชน์ต่อการศึกษาอย่างไรบ้าง  อธิบาย
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๒.  การศึกษาประวัติศาสตร์อารยะธรรม มีจุดมุ่งหมายเพื่ออะไร  อธิบาย
...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๓.  ร่องรอยหลักฐานทางอารยธรรมต่าง ๆ  บอกให้รู้ถึงสิ่งใดบ้าง จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๔.  อารยธรรมอินเดีย คืออะไร มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตชาวสุวรรณภูมิอย่างไรบ้าง  อธิบาย
.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๕.  อารยธรรมจีน คืออะไร เกิดขึ้นเมื่อไหร่ และมีราวงศ์ใดอยู่ร่วมสมัยบ้าง  อธิบาย
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ตัวอย่างรายงานประกอบด้วย


               ตัวอย่างรายงาน...ประกอบด้วย

1.           ปกหน้า
…………………………………………………………………...........
2.           ใบรองปก
…………………………………………………………………………
3.           คำนำ
…………………………………………………………………………
4.           สารบัญ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
5.           เนื้อเรื่อง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
6.           บรรณานุกรม(อย่างน้อยหนังสืออ้างถึง 6 เล่ม)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
7.           ใบรองปกหลัง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
8.           ปกหลัง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….


ตัวอย่างปกรายงาน



รายงาน
                 
             เรื่อง ....................................................................................................................


เสนอ
                              อาจารย์..........................................................................


จัดทำโดย

                  1.ชื่อ.....................นามสกุล..............................รหัสนักศึกษา....................
                 2.ชื่อ......................นามสกุล...............................รหัสนักศึกษา...................
                 3.ชื่อ......................นามสกุล..............................รหัสนักศึกษา...................


วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

                    รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา...............................รหัสวิชา.......................
                     คณะ..............................................สาขา........................................................
                    ภาคเรียนที่ ................................... ปีการศึกษา.................................................

วันพฤหัสบดีที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2555

มคอ.3


รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา         วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม
วิทยาเขต/คณะ/สาขาวิชา  คณะศิลปศาสตร์ สาขา วิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว
หมวดที่ 1  ข้อมูลทั่วไป
1.  รหัสและชื่อรายวิชา
                901-104 อารยธรรมเปรียบเทียบ (Comparative Civilization)
2.  จำนวนหน่วยกิต
                3 หน่วยกิต  (3-0-6)

3.  หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

                หลักสูตร ศิบปศาสตร์บัณฑิต วิชาบังคับหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
4.  อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
               ตอนเรียนที่    อาจารย์ กิจสดายุทต์  สังข์ทอง
 5.  ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
              ภาคการศึกษาปลาย ปีที่
6.  รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (ถ้ามี)
            ไม่มี
7.  วิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (co-requisites) (ถ้ามี)
           ไม่มี
8.  สถานที่เรียน
            วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม   ตึก 9
9.  วันที่จัดทำรายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครั้งล่าสุด
        30  ตุลาคม  2555
หมวดที่ 2  จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1.              จุดมุ่งหมายของรายวิชา
               นักศึกษาเข้าใจความเป็นมาของการกำเนิดอารยธรรม แหล่งกำเนิดอารยธรรม อารยธรรมโบราณตะวันตก อารยธรรมโบราณตะวันออก อิทธิพลของศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลามในยุคกลาง สมัยการฟื้นฟูศิลปวิทยาการและปฏิรูปศาสนา ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ การปฎิวัติอุตสาหกรรม อิทิพลของอารยธรรมตะวันตกที่มีต่อการปกครองของไทย  และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในหน้าที่การงานได้อย่างมีคุณธรรม ความสงบสุขด้วยความซื่อสัตย์สุจริต 
       1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมาอารยธรรมโลก
      2. เพื่อให้นักศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบอารยธรรมไทย สมัยเก่กับสมัยปัจจุบัน
      3. เพื่อให้นักศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบอารยธรรมไทยกับอารยธรรมตะวันตก
      4. เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกที่มีต่อเมืองไทยในด้านเศรษฐกิจ
          สังคม การเมือง และการปกครอง
      5. รวบรวมกรณีศึกษามรดกทางวัฒนธรรมตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
2.  วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
                      - เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความสามารถในการเรียนรู้  และพัฒนาตนเอง
             (Ability to Learn & Adapt to change)เช่นการมุ่งมันสู่ความสำเร็จ(Achievement Motivation)
ความกระตื้นรื้น(Energetic)ความมั่นใจในตัวเอง(Self- Confidence) ความน่าเชื่อถือหรือไว้ว่าใจได้
(Trust)การทุ่มเทในการทำงาน(Dedication to work) และทัศนคติเชิงบวกต่องาน
หมวดที่ 3  ส่วนประกอบของรายวิชา
 1.  คำอธิบายรายวิชา
           ศึกษาเกี่ยวกับการความเป็นมาและเปรียบเทียบอารยธรรมไทย สมัยแรกเริ่มถึงสมัยปัจจุบัน อารยธรรมสมัยปัจจุบันที่ได้รับอิทธิพลจากสมัยก่อนและอิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกที่มีต่อเมืองไทย ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองการปกครอง รวมถึงกรณีศึกษามรดกทางอารยธรรม

2.  จำนวนชั่วโมงที่ใช้/ภาคการศึกษา
บรรยาย
สอนเสริม
การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
45 ชั่วโมง
ไม่มี
ไม่มี
90 ชั่วโมง
3.  จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
     - อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา
     - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์               
        (เฉพาะรายที่ต้องการ)
หมวดที่ 4  การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
1.  คุณธรรม จริยธรรม
1.1  คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
                   ปลูกฝังการตรงต่อเวลา ความมีวินัย การทำงานได้ด้วยตัวเอง ใฝ่รู้  ความซื่อสัตย์ และ ความ
                    รับผิดชอบ
            1.2  วิธีการสอน
  1.2.1  การอธิบาย/บรรยาย
  1.2.2  การอภิปราย/การใช้เหตุผล                                     
           1.2.3  การศึกษาค้นคว้ารายบุคคลหรือกลุ่ม
            1.2.4  การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
            1.2.5  การใช้สื่อประกอบการสอน
            1.3  วิธีการประเมิน
                ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน

2.  ความรู้
               2.1  ความรู้ที่จะได้รับ
                      ความรู้และความใจความเป็นมาของการกำเนิดอารยธรรม แหล่งกำเนิดอารยธรรม อารยธรรมโบราณตะวันตก อารยธรรมโบราณตะวันออก อิทธิพลของศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลามในยุคกลาง สมัยการฟื้นฟูศิลปวิทยาการและปฏิรูปศาสนา ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ การปฎิวัติอุตสาหกรรม อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกที่มีต่อการปกครองของไทย  และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในหน้าที่การงานได้อย่างมีจริยธรรมแบบสัมมาชีพที่เหมาะสมกับผู้เรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ในบริบทของสถาบัน

            2.2  วิธีการสอน
                       การบรรยาย  การอภิปราย   การทำรายงานเดี่ยวและกลุ่ม การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การค้นคว้าด้วยตนเอง รวมทั้งกรณีศึกษาและ/หรือเชิญวิทยากรมาบรรยาย
                2.3  วิธีการประเมิน
                      ประเมินผลจากการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา  การอภิปราย การทำรายงาน การค้นคว้า การสอบกลางภาคและปลายภาค   

3.  ทักษะทางปัญญา
            3.1  ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
                  คิดสะท้อน (reflective thinking) คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และบรูณาการองค์ความรู้จากการถาม-ตอบ ด้านอารยธรรมเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง(Continuous Learning)และการควบคุมอารมณ์( Emotional Control)
            3.2  วิธีการสอน
                   ใช้กระบวนการกลุ่มในการ อธิบาย อภิปราย สะท้อนความคิด การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การทำใบงานต่าง ๆ ที่มอบหมาย  ตลอดภาคการศึกษา

            3.3  วิธีการประเมิน   
                ประเมินจากการเรียนการสอน การแสดงความคิดเห็นและการอภิปราย รายงานรายบุคคลและรายกลุ่ม  นำเสนอหน้าชั้นเรียนและจัดส่งผลการวิเคราะห์งานใบงานประจำเดือน

4.  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
                4.1  ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
                  มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรับผิดชอบ ความร่วมมืออย่างสร้างสรรค์
                4.2  วิธีการสอน
                   ทำกิจกรรมกลุ่มในลักษณะต่างๆ อภิปราย/บรรยาย ถามตอบ และค้นคว้า ในชั้นเรียนและห้องสมุด
4.3  วิธีการประเมิน
                   ประเมินจากความรับผิดชอบในการปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียน และประเมินจากผลการทำกิจกรรมกลุ่มและทำรายงาน

5.  ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารการใช้เทคโนโลยีและภาษาสารสนเทศ
5.1  ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารการใช้เทคโนโลยีและภาษาสารสนเทศที่ต้องพัฒน
     ใช้ภาษาพูด  ภาษาเขียน ในการสื่อสาร ใช้คอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูลและจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบและถ่ายทอดภาษาและสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2  วิธีการสอน
                    การสอนโดยใช้ power point ประกอบการบรรยาย การทำรายงานโดยค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ   
     เอกสาร วารสารต่างๆ  และอินเตอร์เน็ต
5.3  วิธีการประเมิน
               ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย  การเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนและรายงาน







หมวดที่ 5  แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่
เนื้อหา
จำนวนชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน
ผู้สอน
1,2
- บทที่ 1 ความเป็นมาของการกำเนิดอารยธรรม
- ความหมายของอารยธรรม
- ประวัติศาสตร์สมัยต่างๆ
- จุดมุ่งหมายของประวัติศาสตร์
-ประโยชน์ของการศึกษา
  ประวัติศาสตร์
-จุดกำเนิดของอารยธรรม
 โบราณ

6
-ให้นักศึกษาทดสอบความรู้พื้นฐานก่อนเรียน
-แนะแนววิธีการศึกษา
-อธิบายโครงสร้างของวิชาพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การบรรยาย
- การแก้ปัญหา
- นักศึกษาส่วนร่วมโดย ให้ผู้เรียนได้ ศึกษาจากเอกสาร ตำรา วารสาร แลกเปลี่ยนความรู้รวมทั้งแสดงความคิดเห็นใน หัวข้อที่กำหนด เช่น
-ประวัติศาสตร์สมัยต่างๆ
- จุดมุ่งหมายของประวัติศาสตร์มีอิทธิพลต่อนักศึกษาอย่างไร?
อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง
3,4





บทที่ 2 อารธรรมโบราณตะวันตก
- อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
- อารยธรรมอียิปต์
-อารยธรรมกรีก
- คำถามท้ายบ


6




ศึกษาจากเอกสาร ตำรา วารสาร แลกเปลี่ยนความรู้รวมทั้งแสดงความคิดเห็นใน หัวข้อที่กำหนด เช่นอารยธรรมเมโสโปเตเมีย และอารยธรรมอียิปต์มีความเป็นมาอย่างไร?
 -ให้นศ.ช่วยกันสรุปและทบทวนความรู้ส.2
- ทำแบบฝึกหัด

อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง






5,6








สัปดาห์ที่
บทที่ 3 อารยธรรมโบราณตะวันออก
- อารยธรรมจีน
- อารยธรรมอินเดีย
- อารธรรมโบราณในตะวันออกเฉียงใต้


เนื้อหา
6








จำนวนชั่วโมง
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถาม-ตอบ
ให้นักศึกษาวิเคราะห์อารยธรรมจีนและอารยธรรมอินเดียพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
- การบรรยาย
- นักศึกษามีส่วนร่วมโดย ให้ศึกษา ค้นคว้า จากเอกสาร ตำรา และInternes งานมอบหมายรื่อง อารธรรมโบราณในตะวันออกเฉียงใต้
 -ให้นศ.ช่วยกันสรุปและทบทวนความรู้ ส.3,4
กิจกรรมการเรียน
การสอน
อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง









ผู้สอน
7




บทที่ 4 อิทธิพลของคริสต์ศาสนาและศาสนาอิสลามในยุคกลาง
- ยุโรป
 -การแผ่ขยายอารยธรรมอิสลาม
3



-ให้นศ.ช่วยกันสรุปและทบทวนความรู้ ส.5,6
-บรรยาย
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถาม/ตอบ



อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง





8
บทที่ 5 สมัยแห่งกาฟื้นฟูศิลปวิทยาการและการปฏิรูปศาสนา
- การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
- การปฏิรูปศาสนา
-วิวัฒนาการทางการเมืองในยุโรป
-กำเนิดเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
-การเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตย


-บรรยาย
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถาม/ตอบ
เรื่อง
-การฟื้นฟูศิลปวิทยาการมีความสำคัญอย่างไร
- การปฏิรูปศาสนามีประโยชน์/โทษอย่างไร
-วิวัฒนาการทางการเมืองในยุโรปมีความสำคัญอย่างไร
นศ.ร่วมกันแสดงความคิดเห็น
*งานมอบหมายงานกลุ่ม/เดี่ยว Present หน้าชั้นเรียนและทำ Reportส่ง
-ให้นศ.ช่วยกันสรุปและทบทวน เนื้อหา ส.1-8

อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง
9
สอบกลางภาค
18-22 ธ.ค.55
3
เนื้อหาครั้งที่ 1-8 
(บทที่ 1 4 )

10,11
บทที่ 6 ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
- วิทยาศาสตร์กับการค้นหาความรู้ของมนุษย์ในศตวรรษที่ 16
-แนวทางสำคัญในการศึกษาวิทยาศาสตร์
-ธรรมชาติของมนุษย์
6
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถามนศ.ว่าความก้าวหน้าทางวิทยาศาตร์มีผลดี/เสียอย่างไร
-เสนองานมอบหมายนำมา present หน้าชั้นเรียน
- รายงานกลุ่ม/เดียว
อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง

สัปดาห์ที่
เนื้อหา
จำนวนชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
การสอน
ผู้สอน
12,13
บทที่ 7 การปฎิวัติอุตสาหกรรม
-สาเหตุของการปฎิวัติอุตสาหกรรม
- ผลการปฎิวัติอุตสาหกรรม
  *ที่มีต่อด้านสังคม
  *ที่มีต่อด้านการเมือง
  *ที่มีต่อด้านเศรษฐกิจ
   *ที่มีต่อด้านปัญญาและวัฒนธรรม
  
6
-บรรยาย
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้
-รายงานกลุ่ม

อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง
14,15
บทที่ 8จุดกำเนิดวัฒนธรรมสมัยใหม่
-โลกสมัยใหม่ในศตวรรษที่ 19
-ลักษณะความคิดในศตวรรษที่ 19
-การสร้างสรรค์งานศิลปะ
3
-ศึกษากำเนิดอารยธรรมโลก
-รายงานกลุ่ม
อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง
16,17
บทที่ 9 อิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกที่มีต่อการปกครองของไทย
-ที่มีต่อด้านสังคม
  -ที่มีต่อด้านการเมือง
  -ที่มีต่อด้านเศรษฐกิจ
  -ที่มีต่อด้านปัญญาและวัฒนธรรม
(กรณีศึกษาอารยธรรมเขาพระวิหาร)

3
-บรรยาย
-แลกเปลี่ยนเรียนรู้
-เสนองานมอบหมาย
- ทำแบบฝึกหัด
-ทบทวนเนื้อหา ส.10-17



อ.กิจสดายุทต์ สังข์ทอง








18

สอบปลายภาค
              26 ก.พ. -2 มี.ค.56
3
เนื้อหาครั้งที่  10-17
(บทที่ 6–8 )





2.  แผนการประเมินผลการเรียนรู้
กิจกรรมที่
ผลการเรียนรู้*
วิธีการประเมิน
กำหนดการประเมิน (สัปดาห์ที่)
สัดส่วนของการประเมินผล
1
วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้าการนำเสนอรายงาน
นำเสนอรายงาน
ตลอดภาคการศึกษา
20

การทำงานกลุ่มและผลงาน
การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความเห็นในชั้นเรียน
การส่งงงานตามมอบหมาย



2
ทดสอบย่อย
บทที่1-5
8
10
3
ความรู้
สอบกลางภาค    
9
30
4
ความรู้
สอบปลายภาค
18
30
5
ความรับผิดชอบ
การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา
ตลอดภาคการศึกษา
10
* ระบุผลการเรียนรู้หัวข้อย่อยตามที่ปรากฏในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบของรายวิชาของรายละเอียดของหลักสูตร (แบบ มคอ. 2)
                                หมวดที่ 6  ทรัพยากรประกอบการเรียน
1.  ตำราและเอกสารหลัก
               1. คณะอักษรศาตร์,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.อารยธรรมสมัยใหม่-ปัจจุบัน.กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์
                       มหาวิทยาลัย,๒๕๒๓
                   2. นันทนา กปิลกาญจน์  ประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก(ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ ๙. 
                      กรุงเทพ: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์,๒๕๕๐.
                  3. สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย.มนุษย์กับอารยธรรม. (หน่วยที่ 1-7). กรุงเทพ: มหาวิทยาลัย
                     สุโขทัยธรรมาธิราช,๒๕๒๓.
                  4. ปรัศนีย์  เกศะบุตร,อารยธรรมเปรียบเทียบ.มหาวิทยาลัยกรุงเทพ,สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ,2553
                  5. Thomas McEvilley, The Shape of Ancient Thought: Comparative Studies in Greek and Indian
                      Philosophies, Rice University , New York City.
                  6. http://www.thaigoodview.com (อารยธรรมโลก)
1                 เอกสารและข้อมูลสำคัญ      
          ไม่มี
2                 เอกสารและข้อมูลแนะนำ
      เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในรายวิชา เช่น  http://comparative-civilization-stu.blogspot.com/,                                
                                                                       http://www.siamtechu-learn.net (E-learning:วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม)                                                                 

หมวดที่ 7  การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา
1.  กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
                1.1  ประเมินผลการสอนโดยใช้แบบสอบถาม/ระบบออนไลน์
               1.2  สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาในสัปดาห์สุดท้าย
1.3  ให้นักศึกษาเขียนแสดงความคิดเห็นการสอนในสัปดาห์สุดท้าย
2.  กลยุทธ์การประเมินการสอน
1.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
1.2 ผลการสอบ
3.  การปรับปรุงการสอน
              3.1  นำผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงการสอน
3.2  ค้นคว้าข้อมูลความรู้ใหม่ๆนำมาใช้ในการสอน
3.3  กลุ่มคณาจารย์จัดอภิปราย/สัมมนาเพื่อพัฒนารายวิชาให้มีสาระวิชาและการสอนให้เหมาะสม
      และน่าสนใจ
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา
              4.1  ให้นักศึกษาได้มีโอกาสตรวจสอบคะแนนและเกรดก่อนส่งเกรดให้สำนักทะเบียนและประมวลผล
4.2  ก่อนการสอบกลางภาคและปลายภาค จัดประชุมคณาจารย์เพื่อออกข้อสอบร่วมกับการพัฒนาข้อสอบเพื่อให้ได้มาตรฐาน
5.  การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนา นำมาสรุปผลและพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคการศึกษาต่อไป